แจ้งเปลี่ยนแปลงสถานที่การจัดการแข่งขันเครื่องบินจำลองและวิทยุบังคับ รายการ “หนูน้อยจ้าวเวหา”เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร ในวันที่ 22- 24 กรกฎาคม 2559 ย้ายจากสนามกีฬาเวสน์ 1 (ไทยญี่ปุ่น-ดินแดง) มาที่ลานกิจกรรม ชั้น 2 ศูนย์การค้าเซียร์รังสิต ถนนพหลโยธิน อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดใบสมัครด้านล่างแล้วส่งมายังสมาคมกีฬาเครื่องบินจำลองและวิทยุบังคับ
Email : pisitmit@hotmail.com หรือทางโทรสารหมายเลข 02-809-3763
การแข่งขัน"หนูน้อยจ้าวเวหา"ผู้เข้าแข่งขัน 1 คนสามารถลงสมัครได้ 2 ประเภท
กติกาการแข่งขันเครื่องบินจำลอง “หนูน้อยจ้าวเวหา” รุ่น 2 ช่องสัญญาณ ปี 8
ประเภทบินผาดโผน (ลอดบ่วง)
- ทีมผู้แข่งขันประกอบด้วย นักเรียน 2 คน อาจารย์ผู้ควบคุม 1 ท่าน
- เครื่องบินที่ใช้ในการแข่งขัน สามารถออกแบบและกำหนดขนาดได้เองโดยใช้วัสดุอะไรก็ได้
- วิทยุบังคับที่ใช้ในการแข่งขันเป็นรุ่น 2 ช่องสัญญาณรุ่นใดก็ได้ไม่กำหนด
- อุปกรณ์กำหนดให้ ใช้มอเตอร์ 180 จำนวน 2 ตัว ไม่กำหนดแบตเตอรี่
- ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมเครื่องบินมาเอง อนุญาตให้เตรียมมาได้มากกว่า 1 ลำ
โดยต้องผ่านการตรวจสอบจากกรรมการก่อนทำการแข่งขัน
- เวลาในการแข่งขัน 2 นาที ถ้าเครื่องบินตกและยังไม่หมดเวลาสามารถนำเครื่องบิน
บินต่อได้จนหมดเวลา
- ต้องปล่อยเครื่องบินและควบคุมการบิน ตรงพื้นที่ ที่กรรมการกำหนด
- แข่งขันพร้อมกัน ครั้งละ 2 ทีม นำเครื่องบินบินลอดห่วงได้จะได้คะแนนครั้งละ 50 คะแนน
- ห่วงที่ใช้ในการแข่งขันทีมละ 1 ห่วง ต่างบินทำคะแนน ผู้แข่งขันสามารถลอดห่วงใด ก่อนหลังก็ได้
และสามารถลอดเข้าทางทิศทางใดของห่วงก็ได้
- ห่วงที่ใช้มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.00 เมตร
- ให้คะแนนตามจำนวนครั้งที่บินลอดห่วงได้ ทีมใดทำคะแนนรวมได้มากที่สุดเป็นผู้ชนะ
- ในระหว่างแข่งขันหากเครื่องบินตกเสียหาย ไม่สามารถบินแข่งขันต่อไปได้ ให้ยุติการแข่งขัน
- ทีมผู้แข่งขันประกอบด้วย นักเรียน 2 คน อาจารย์ผู้ควบคุม 1 ท่าน
- เครื่องบินที่ใช้ในการแข่งขัน สามารถออกแบบและกำหนดขนาดได้เองโดยใช้วัสดุอะไรก็ได้
- วิทยุบังคับที่ใช้ในการแข่งขันเป็นรุ่น 2 ช่องสัญญาณรุ่นใดก็ได้ไม่กำหนด
- อุปกรณ์กำหนดให้ ใช้มอเตอร์ 180 จำนวน 2 ตัว ไม่กำหนดแบตเตอรี่
- ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมเครื่องบินมาเอง อนุญาตให้เตรียมมาได้มากกว่า 1 ลำ
โดยต้องผ่านการตรวจสอบจากกรรมการก่อนทำการแข่งขัน
- เวลาในการแข่งขัน 2 นาที ถ้าเครื่องบินตกและยังไม่หมดเวลาสามารถนำเครื่องบิน
บินต่อได้จนหมดเวลา
- ต้องปล่อยเครื่องบินและควบคุมการบิน ตรงพื้นที่ ที่กรรมการกำหนด
- แข่งขันพร้อมกัน ครั้งละ 2 ทีม นำเครื่องบินบินลอดห่วงได้จะได้คะแนนครั้งละ 50 คะแนน
- ห่วงที่ใช้ในการแข่งขันทีมละ 1 ห่วง ต่างบินทำคะแนน ผู้แข่งขันสามารถลอดห่วงใด ก่อนหลังก็ได้
และสามารถลอดเข้าทางทิศทางใดของห่วงก็ได้
- ห่วงที่ใช้มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.00 เมตร
- ให้คะแนนตามจำนวนครั้งที่บินลอดห่วงได้ ทีมใดทำคะแนนรวมได้มากที่สุดเป็นผู้ชนะ
- ในระหว่างแข่งขันหากเครื่องบินตกเสียหาย ไม่สามารถบินแข่งขันต่อไปได้ ให้ยุติการแข่งขัน
ประเภททิ้งสัมภาระตรงจุด- ทีมผู้แข่งขันประกอบด้วย นักเรียน 2 คน อาจารย์ผู้ควบคุม 1 ท่าน
- เครื่องบินที่ใช้ในการแข่งขัน สามารถออกแบบและกำหนดขนาดได้เองโดยใช้วัสดุอะไรก็ได้
- วิทยุบังคับที่ใช้ในการแข่งขัน เป็นรุ่น 2 ช่องสัญญาณรุ่นใดก็ได้ไม่กำหนด
- อุปกรณ์ กำหนดให้ใช้มอเตอร์180 จำนวน 2 ตัว ไม่กำหนดแบตเตอรี่
- ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมเครื่องบินมาเอง อนุญาตให้เตรียมมาได้มากกว่า 1 ลำ โดยต้องผ่าน
การตรวจสอบจากกรรมการก่อนทำการแข่งขัน
- สัมภาระที่ใช้ในการแข่งขันผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมมาเอง กำหนดให้มีรูปลักษณะเป็นกล่อง
สี่เหลี่ยมทำด้วยวัสดุใดก็ได้ ขนาดกว้าง x ยาว x สูง ไม่ต่ำกว่า 5 X 5 x 5 เซนติเมตรน้ำหนักไม่จำกัด
- แข่งขันพร้อมกัน ครั้งละ 2 ทีม
- ผู้ควบคุมเครื่องบิน ต้องยืนบินอยู่ในจุดที่กรรมการกำหนด ในกรณีที่ผู้ช่วยนักบินเป็นผู้กดปลดสัมภาระ
ตำแหน่งที่ยืนจะต้องอยู่ข้างนักบินในขณะกดปลดสัมภาระ (ไม่ให้ลงไปยืนในสนาม)
- ให้ผู้เข้าแข่งขันบินลอดห่วงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 เมตร ก่อนทิ้งสัมภาระเหนือเป้าคะแนน
ที่กำหนด โดยจะมีคะแนนในเป้าที่แตกต่างกันไปตามลำดับให้ทิ้งสัมภาระได้ 1 ครั้ง
- การตัดสิน ทีมที่ได้คะแนนมากที่สุดและใช้เวลาน้อยที่สุดเป็นผู้ชนะ - กรณีทิ้งสัมภาระไม่ลงเป้าคะแนน ให้วัดระยะจากจุดกึ่งกลางเป้าคะแนนไปยังจุดที่สัมภาระตกอยู่
โดยทีมที่วัดระยะได้ใกล้ที่สุดและใช้เวลาน้อยที่สุดเป็นผู้ชนะ
- เวลาในการแข่งขัน 2 นาที ถ้าเครื่องบินตกและยังไม่หมดเวลาสามารถส่งเครื่องบิน บินต่อได้จนหมดเวลา
- ในกรณีที่ทิ้งสัมภาระอยู่ในวงคะแนน หากเครื่องบินตกอยู่ในกรอบเป้าคะแนน ถือว่าไม่ได้คะแนน
- ในระหว่างแข่งขันหากเครื่องบินตกเสียหาย ไม่สามารถบินแข่งขันต่อไปได้ ให้ยุติการแข่งขัน
- เครื่องบินที่ใช้ในการแข่งขัน สามารถออกแบบและกำหนดขนาดได้เองโดยใช้วัสดุอะไรก็ได้
- วิทยุบังคับที่ใช้ในการแข่งขัน เป็นรุ่น 2 ช่องสัญญาณรุ่นใดก็ได้ไม่กำหนด
- อุปกรณ์ กำหนดให้ใช้มอเตอร์180 จำนวน 2 ตัว ไม่กำหนดแบตเตอรี่
- ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมเครื่องบินมาเอง อนุญาตให้เตรียมมาได้มากกว่า 1 ลำ โดยต้องผ่าน
การตรวจสอบจากกรรมการก่อนทำการแข่งขัน
- สัมภาระที่ใช้ในการแข่งขันผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมมาเอง กำหนดให้มีรูปลักษณะเป็นกล่อง
สี่เหลี่ยมทำด้วยวัสดุใดก็ได้ ขนาดกว้าง x ยาว x สูง ไม่ต่ำกว่า 5 X 5 x 5 เซนติเมตรน้ำหนักไม่จำกัด
- แข่งขันพร้อมกัน ครั้งละ 2 ทีม
- ผู้ควบคุมเครื่องบิน ต้องยืนบินอยู่ในจุดที่กรรมการกำหนด ในกรณีที่ผู้ช่วยนักบินเป็นผู้กดปลดสัมภาระ
ตำแหน่งที่ยืนจะต้องอยู่ข้างนักบินในขณะกดปลดสัมภาระ (ไม่ให้ลงไปยืนในสนาม)
- ให้ผู้เข้าแข่งขันบินลอดห่วงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 เมตร ก่อนทิ้งสัมภาระเหนือเป้าคะแนน
ที่กำหนด โดยจะมีคะแนนในเป้าที่แตกต่างกันไปตามลำดับให้ทิ้งสัมภาระได้ 1 ครั้ง
- การตัดสิน ทีมที่ได้คะแนนมากที่สุดและใช้เวลาน้อยที่สุดเป็นผู้ชนะ - กรณีทิ้งสัมภาระไม่ลงเป้าคะแนน ให้วัดระยะจากจุดกึ่งกลางเป้าคะแนนไปยังจุดที่สัมภาระตกอยู่
โดยทีมที่วัดระยะได้ใกล้ที่สุดและใช้เวลาน้อยที่สุดเป็นผู้ชนะ
- เวลาในการแข่งขัน 2 นาที ถ้าเครื่องบินตกและยังไม่หมดเวลาสามารถส่งเครื่องบิน บินต่อได้จนหมดเวลา
- ในกรณีที่ทิ้งสัมภาระอยู่ในวงคะแนน หากเครื่องบินตกอยู่ในกรอบเป้าคะแนน ถือว่าไม่ได้คะแนน
- ในระหว่างแข่งขันหากเครื่องบินตกเสียหาย ไม่สามารถบินแข่งขันต่อไปได้ ให้ยุติการแข่งขัน
ประเภทความคิดสร้างสรรค์สวยงามบินได้
- ทีมผู้แข่งขันประกอบด้วย นักเรียน 2 คน อาจารย์/ผู้ควบคุมทีม 1 ท่าน
- ให้ผู้เข้าแข่งขันสร้างและออกแบบเครื่องบินให้เป็นรูปช้าง ซึ่งเป็นสัตว์สัญญาลักษณ์ประจำ
ชาติไทย พร้อมกับนำเสนอและบินเก็บคะแนนที่สนามแข่งขัน (ให้ผู้เข้าแข่งขันสร้างเครื่องบิน
มาเลยพร้อมนำเสนอและบินเก็บคะแนน)
- วิทยุบังคับที่ใช้ในการแข่งขัน เป็นรุ่น 2 ช่องสัญญาณรุ่นใดก็ได้ไม่กำหนด
- อุปกรณ์กำหนดให้ ใช้มอเตอร์ 180 ไม่กำหนดจำนวนมอเตอร์ ไม่กำหนดแบตเตอรี่
- ให้ผู้เข้าแข่งขันออกแบบเครื่องบินให้เป็นรูปช้าง และทำโครงงานเป็นรูปเล่ม 3 ฉบับ ส่งให้
กรรมการ (สามารถเตรียมความพร้อมมาจากบ้านได้)
- นักเรียนต้องนำเสนอผลงานต่อหน้ากรรมการจัดการแข่งขัน เพื่อให้คะแนน สร้างสรรค์สวยงาม
- คะแนน แบ่งเป็นคะแนนสร้างสรรค์สวยงาม 60 คะแนน คะแนนบินได้ 40 คะแนน
คะแนนสวยงาม 60 คะแนน ประกอบด้วย
คะแนนการออกแบบตามหลักอากาศพลศาตร์ 15 คะแนน
คะแนนความประณีตสวยงาม 15 คะแนน
คะแนนเอกสารรายงาน 10 คะแนน
คะแนนการนำเสนอ 10 คะแนน
คะแนน ถาม-ตอบ 10 คะแนน
- ทำการแข่งขันการบิน กำหนดเวลาการแข่งขัน 2 นาที
คะแนนบินได้ 40 คะแนน ดังนี้ (บินได้ไม่ถึง 30 วินาทีถือว่าบินไม่ได้ จะไม่ได้คะแนนบิน)
บินได้ 40-59 วินาที 20 คะแนน
บินได้ 60-79 วินาที 25 คะแนน
บินได้ 80-99 วินาที 30 คะแนน
บินได้ 100-119 วินาที 35 คะแนน
บินได้ 120 วินาที 40 คะแนน
- แข่งพร้อมกันครั้งละ 2 ทีม
- การบิน ผู้ควบคุมเครื่องบินต้องอยู่ในจุดที่กรรมการกำหนดและบินเหนือบริเวณพื้นที่ ที่กรรมการกำหนด
- การตัดสิน นำคะแนนสร้างสรรค์สวยงามและคะแนนบินได้มารวมกัน ทีมใดได้คะแนนสูงสุดเป็นผู้ชนะ
- การบินรอบชิงชนะเลิศใช้เวลา 2 นาทีโดยจะมีห่วงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 เมตร ทีมละ 1 ห่วงห้บินลอด
โดยจะมีคะแนนลอดห่วงอีกครั้งละ 10 คะแนนรวมกับคะแนนเดิมในรอบคัดเลือกทีมใดได้คะแนนรวมสูงสุดเป็นผู้ชนะเลิศ
- ทีมผู้แข่งขันประกอบด้วย นักเรียน 2 คน อาจารย์/ผู้ควบคุมทีม 1 ท่าน
- ให้ผู้เข้าแข่งขันสร้างและออกแบบเครื่องบินให้เป็นรูปช้าง ซึ่งเป็นสัตว์สัญญาลักษณ์ประจำ
ชาติไทย พร้อมกับนำเสนอและบินเก็บคะแนนที่สนามแข่งขัน (ให้ผู้เข้าแข่งขันสร้างเครื่องบิน
มาเลยพร้อมนำเสนอและบินเก็บคะแนน)
- วิทยุบังคับที่ใช้ในการแข่งขัน เป็นรุ่น 2 ช่องสัญญาณรุ่นใดก็ได้ไม่กำหนด
- อุปกรณ์กำหนดให้ ใช้มอเตอร์ 180 ไม่กำหนดจำนวนมอเตอร์ ไม่กำหนดแบตเตอรี่
- ให้ผู้เข้าแข่งขันออกแบบเครื่องบินให้เป็นรูปช้าง และทำโครงงานเป็นรูปเล่ม 3 ฉบับ ส่งให้
กรรมการ (สามารถเตรียมความพร้อมมาจากบ้านได้)
- นักเรียนต้องนำเสนอผลงานต่อหน้ากรรมการจัดการแข่งขัน เพื่อให้คะแนน สร้างสรรค์สวยงาม
- คะแนน แบ่งเป็นคะแนนสร้างสรรค์สวยงาม 60 คะแนน คะแนนบินได้ 40 คะแนน
คะแนนสวยงาม 60 คะแนน ประกอบด้วย
คะแนนการออกแบบตามหลักอากาศพลศาตร์ 15 คะแนน
คะแนนความประณีตสวยงาม 15 คะแนน
คะแนนเอกสารรายงาน 10 คะแนน
คะแนนการนำเสนอ 10 คะแนน
คะแนน ถาม-ตอบ 10 คะแนน
- ทำการแข่งขันการบิน กำหนดเวลาการแข่งขัน 2 นาที
คะแนนบินได้ 40 คะแนน ดังนี้ (บินได้ไม่ถึง 30 วินาทีถือว่าบินไม่ได้ จะไม่ได้คะแนนบิน)
บินได้ 40-59 วินาที 20 คะแนน
บินได้ 60-79 วินาที 25 คะแนน
บินได้ 80-99 วินาที 30 คะแนน
บินได้ 100-119 วินาที 35 คะแนน
บินได้ 120 วินาที 40 คะแนน
- แข่งพร้อมกันครั้งละ 2 ทีม
- การบิน ผู้ควบคุมเครื่องบินต้องอยู่ในจุดที่กรรมการกำหนดและบินเหนือบริเวณพื้นที่ ที่กรรมการกำหนด
- การตัดสิน นำคะแนนสร้างสรรค์สวยงามและคะแนนบินได้มารวมกัน ทีมใดได้คะแนนสูงสุดเป็นผู้ชนะ
- การบินรอบชิงชนะเลิศใช้เวลา 2 นาทีโดยจะมีห่วงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 เมตร ทีมละ 1 ห่วงห้บินลอด
โดยจะมีคะแนนลอดห่วงอีกครั้งละ 10 คะแนนรวมกับคะแนนเดิมในรอบคัดเลือกทีมใดได้คะแนนรวมสูงสุดเป็นผู้ชนะเลิศ
ประเภทบินนาน- ทีมผู้แข่งขันประกอบด้วย นักเรียน 2 คน อาจารย์ผู้ควบคุม 1 ท่าน- เครื่องบินที่ใช้ในการแข่งขัน สามารถออกแบบและกำหนดขนาดได้เองโดยใช้วัสดุอะไรก็ได้- เครื่องวิทยุบังคับที่ใช้ในการแข่งขัน เป็นรุ่น 2 ช่องสัญญาณรุ่นใดก็ได้ไม่กำหนด- อุปกรณ์กำหนดให้ ใช้มอเตอร์ 180 จำนวน 2 ตัว ไม่กำหนดแบตเตอรี่- ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมเครื่องบินที่ใช้ในการแข่งขันมาเอง โดยต้องผ่านการตรวจสอบจากกรรมการก่อนทำการแข่งขัน
- การแข่งขัน แข่งขันพร้อมกันครั้งละ 2 ทีม- ต้องบินเหนือบริเวณพื้นที่สนามแข่งขัน ถ้าทำการบินได้นาน 2 นาทีจะได้ 5 คะแนน
- กรณีที่บินไม่ครบ 2 นาที ให้นับคะแนนเป็นเวลาที่บินได้จริง- หลังจากครบ 2 นาที กรรมการจะเป่านกหวีดให้ทุกลำลงจอดในเป้าคะแนนของตนเอง
ภายใน 30 วินาที
- หากเกิน 30 วินาที ถือว่าได้เพียงคะแนน 5 คะแนน
- เครื่องบินที่ลงจอดตรงเป้าคะแนน จะมีคะแนนบวกให้อีก 5, 4 ,2 ตามลำดับ ผู้ที่ได้คะแนนรวมมากที่สุด
และใช้เวลาในการลงจอดน้อยที่สุด จะเป็นผู้ชนะ
- เครื่องบินตก หรือตกบนสิ่งก่อสร้างหรือค้างต้นไม้หรือสิ่งอื่นใด ให้ถือว่าสิ้นสุดการแข่งขันม่มีคะแนน
- เครื่องบินจะต้องลงในสนามเท่านั้นจึงจะนับคะแนนให้ หากตกนอกสนามถือว่าไม่มีคะแนน
ประเภทยุทธวิธี- ทีมผู้แข่งขันประกอบด้วย นักเรียน 2 คน และอาจารย์/ผู้ควบคุมทีม 1 คน
- เครื่องบินที่ใช้ในการแข่งขัน สามารถออกแบบและกำหนดขนาดได้เองโดยใช้วัสดุอะไรก็ได้
แต่ต้องติดล้อที่เครื่องบินเพื่อทำการ take off ขึ้นจากพื้น
- ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมเครื่องบินมาเอง อนุญาตให้เตรียมมาได้มากกว่า 1 ลำ โดยต้องผ่าน
การตรวจสอบจากกรรมการก่อนทำการแข่งขัน
- อุปกรณ์กำหนดให้ใช้มอเตอร์ขนาด 180 จำนวน 2 ตัว หรือ มอเตอร์ 1 ตัว ขนาดไม่เกิน 400 KV
สปีดขนาดไม่เกิน 30 Amp
- ใช้วิทยุบังคับ 4 – 8 CH แบบทั่วไป
- เวลาในการแข่งขัน 2 นาที ถ้าเครื่องบินตกและยังไม่หมดเวลาสามารถนำเครื่องบินบินต่อได้
จนหมดเวลาต้องปล่อยและยืนบินตามตำแหน่งที่กรรมการกำหนด และบินตามแบบที่กรรมการกำหนด
- เริ่มจากจุด start ผู้เข้าแข่งขัน take off เครื่องบินจากพื้น แล้วบินวนอ้อมทั้งสามหลักให้ครบ 1 รอบ (บินวนครั้งแรกรอบเดียว)
- หลังจากนั้นบินซิกแซกอ้อมหลักทั้งสามหลักให้ครบถ้วนแล้วบินอ้อมหลักบนซ้ายสุดแล้วโจมตีลูกโป่ง
เพื่อทำคะแนน ในแต่ละรอบ โดยโจมตีลูกโป่งแตก 1 ลูกจะได้ 5 คะแนน เมื่อครบ 3 ลูกก็จะได้คะแนน 15 คะแนน
- การโจมตีลูกโป่งแต่ละครั้งต้องบินเข้าโจมตีเท่านั้น ห้าม ฮอบชนลูกโป่ง (ห้ามเครื่องบินทำมุมตั้งฉาก 90 องศา
ในแนวดิ่งเข้าชนลูกโป่ง)
- เครื่องบินตกหรือชนก้านลูกโป่งตก สามารถขึ้นบินได้ใหม่จนกว่าจะหมดเวลาการแข่งขัน
- ในกรณีที่เครื่องบินตกเสียหายระหว่างแข่งขันและไม่สามารถบินต่อไปได้ให้ยุติการแข่งขัน
- เมื่อบินครบ 2 นาทีแล้วให้ผู้แข่งขันนำเครื่องบินมาลงจอดที่จุด start ที่เดิม
- การตัดสินทีมที่ทำคะแนนได้มากที่สุดเป็นผู้ชนะ กรณีคะแนนเท่ากัน ทีมที่ใช้เวลาน้อยที่สุดในการเข้าโจมตีลูกโป่ง
ลูกแรกแตกถือเป็นผู้ชนะ
- การแข่งขัน แข่งขันพร้อมกันครั้งละ 2 ทีม- ต้องบินเหนือบริเวณพื้นที่สนามแข่งขัน ถ้าทำการบินได้นาน 2 นาทีจะได้ 5 คะแนน
- กรณีที่บินไม่ครบ 2 นาที ให้นับคะแนนเป็นเวลาที่บินได้จริง- หลังจากครบ 2 นาที กรรมการจะเป่านกหวีดให้ทุกลำลงจอดในเป้าคะแนนของตนเอง
ภายใน 30 วินาที
- หากเกิน 30 วินาที ถือว่าได้เพียงคะแนน 5 คะแนน
- เครื่องบินที่ลงจอดตรงเป้าคะแนน จะมีคะแนนบวกให้อีก 5, 4 ,2 ตามลำดับ ผู้ที่ได้คะแนนรวมมากที่สุด
และใช้เวลาในการลงจอดน้อยที่สุด จะเป็นผู้ชนะ
- เครื่องบินตก หรือตกบนสิ่งก่อสร้างหรือค้างต้นไม้หรือสิ่งอื่นใด ให้ถือว่าสิ้นสุดการแข่งขันม่มีคะแนน
- เครื่องบินจะต้องลงในสนามเท่านั้นจึงจะนับคะแนนให้ หากตกนอกสนามถือว่าไม่มีคะแนน
ประเภทยุทธวิธี- ทีมผู้แข่งขันประกอบด้วย นักเรียน 2 คน และอาจารย์/ผู้ควบคุมทีม 1 คน
- เครื่องบินที่ใช้ในการแข่งขัน สามารถออกแบบและกำหนดขนาดได้เองโดยใช้วัสดุอะไรก็ได้
แต่ต้องติดล้อที่เครื่องบินเพื่อทำการ take off ขึ้นจากพื้น
- ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมเครื่องบินมาเอง อนุญาตให้เตรียมมาได้มากกว่า 1 ลำ โดยต้องผ่าน
การตรวจสอบจากกรรมการก่อนทำการแข่งขัน
- อุปกรณ์กำหนดให้ใช้มอเตอร์ขนาด 180 จำนวน 2 ตัว หรือ มอเตอร์ 1 ตัว ขนาดไม่เกิน 400 KV
สปีดขนาดไม่เกิน 30 Amp
- ใช้วิทยุบังคับ 4 – 8 CH แบบทั่วไป
- เวลาในการแข่งขัน 2 นาที ถ้าเครื่องบินตกและยังไม่หมดเวลาสามารถนำเครื่องบินบินต่อได้
จนหมดเวลาต้องปล่อยและยืนบินตามตำแหน่งที่กรรมการกำหนด และบินตามแบบที่กรรมการกำหนด
- เริ่มจากจุด start ผู้เข้าแข่งขัน take off เครื่องบินจากพื้น แล้วบินวนอ้อมทั้งสามหลักให้ครบ 1 รอบ (บินวนครั้งแรกรอบเดียว)
- หลังจากนั้นบินซิกแซกอ้อมหลักทั้งสามหลักให้ครบถ้วนแล้วบินอ้อมหลักบนซ้ายสุดแล้วโจมตีลูกโป่ง
เพื่อทำคะแนน ในแต่ละรอบ โดยโจมตีลูกโป่งแตก 1 ลูกจะได้ 5 คะแนน เมื่อครบ 3 ลูกก็จะได้คะแนน 15 คะแนน
- การโจมตีลูกโป่งแต่ละครั้งต้องบินเข้าโจมตีเท่านั้น ห้าม ฮอบชนลูกโป่ง (ห้ามเครื่องบินทำมุมตั้งฉาก 90 องศา
ในแนวดิ่งเข้าชนลูกโป่ง)
- เครื่องบินตกหรือชนก้านลูกโป่งตก สามารถขึ้นบินได้ใหม่จนกว่าจะหมดเวลาการแข่งขัน
- ในกรณีที่เครื่องบินตกเสียหายระหว่างแข่งขันและไม่สามารถบินต่อไปได้ให้ยุติการแข่งขัน
- เมื่อบินครบ 2 นาทีแล้วให้ผู้แข่งขันนำเครื่องบินมาลงจอดที่จุด start ที่เดิม
- การตัดสินทีมที่ทำคะแนนได้มากที่สุดเป็นผู้ชนะ กรณีคะแนนเท่ากัน ทีมที่ใช้เวลาน้อยที่สุดในการเข้าโจมตีลูกโป่ง
ลูกแรกแตกถือเป็นผู้ชนะ
ประเภทลำเลียง- ทีมผู้แข่งขันประกอบด้วย นักเรียน 2 คน และอาจารย์ผู้ควบคุมทีม 1 ท่าน
- เครื่องบินที่ใช้ในการแข่งขัน สามารถออกแบบและกำหนดขนาดได้เองโดยใช้วัสดุอะไรก็ได้
แต่ต้องติดล้อที่เครื่องบินเพื่อทำการ take off ขึ้นจากพื้น
- อุปกรณ์กำหนดให้ใช้มอเตอร์ขนาด 180 จำนวน 2 ตัว หรือ มอเตอร์ 1 ตัว ขนาดไม่เกิน 1400 KV
สปีดขนาดไม่เกิน 30 Amp
- ใช้วิทยุบังคับ 4 -8 CH แบบทั่วไป
- สัมภาระที่ใช้ในการแข่งขันผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมมาเอง กำหนดให้มีรูปลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม
ทำด้วยวัสดุใดก็ได้ ขนาดกว้าง x ยาว x สูง ไม่ต่ำกว่า 5 X 5 x 5 เซนติเมตร น้ำหนักไม่จำกัด
ขึ้นอยู่กับความสามารถในการบรรทุกของเครื่องบิน
- การปลดทิ้งสัมภาระผู้เข้าแข่งขันสามารถใช้วิทยุแบบ 2 ช่องสัญญาณปล่อยทิ้งสัมภาระ
หรือสามารถใช้ Servo ปลดทิ้งสัมภาระจากวิทยุในตัวเดียวกันของนักบินได้
- ในกรณีที่ผู้ช่วยนักบิน เป็นผู้กดปลดสัมภาระ ตำแหน่งที่ยืนจะต้องอยู่ข้างนักบินในขณะกดปลดสัมภาระ
(ไม่ให้ลงไปยืนในสนาม)
- ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมเครื่องบินมาเอง อนุญาตให้เตรียมมาได้มากกว่า 1 ลำ โดยต้องผ่านการตรวจสอบ
จากกรรมการก่อนทำการแข่งขัน
- แข่งขันพร้อมกันครั้งละ 2 ทีม
- เวลาในการแข่งขัน 2 นาที ถ้าเครื่องบินตกและยังไม่หมดเวลาสามารถนำเครื่องบิน บินต่อได้จนหมดเวลา
- ต้องปล่อยและยืนบินตามตำแหน่งที่กรรมการกำหนด และบินตามแบบที่กรรมการกำหนด
- เริ่มจากจุด start ผู้เข้าแข่งขัน take off เครื่องบินจากพื้น แล้วบินซิกแซกวนอ้อมหลัก 2 หลักที่กรรมการกำหนด
แล้วทิ้งสัมภาระลงในเป้าคะแนน
- กรณีทิ้งสัมภาระแล้วเครื่องบินตกอยู่ในกรอบเป้าคะแนน ถือว่าปฏิบัติภารกิจไม่สำเร็จไม่ได้คะแนน
- กรณีทิ้งสัมภาระไม่ลงเป้าคะแนน ให้วัดระยะจากจุดกึ่งกลางเป้าคะแนนไปยังจุดที่สัมภาระตกอยู่
โดยคิดจากระยะทางที่ใกล้จุดกึ่งกลางเป้ามากที่สุด
- ในกรณีที่เครื่องบินบินผ่านช่องที่กำหนดแล้วยังไม่สามารถกดปลดสัมภาระได้ นักบินต้องนำเครื่องบิน
ไปบินวนซิกแซกอ้อมหลักที่กรรมการกำหนดก่อนจึงจะทิ้งสัมภาระได้
- เครื่องบินตกเสียหายไม่สามารถทำการบินได้ต่อไป ให้ยุติการแข่งขัน
- ทีมที่ทิ้งสัมภาระลงแผ่นเป้าคะแนนได้คะแนนสูงสุด ใช้เวลาน้อยที่สุดเป็นทีมที่ชนะเลิศ
- การตัดสินกรณีคะแนนเท่ากัน ทีมที่ใช้เวลาน้อยที่สุดเป็นผู้ชนะ
- การตัดสินกรณีที่ไม่มีคะแนน ใช้วัดระยะ ทีมที่วัดระยะได้ใกล้ที่สุดเป็นผู้ชนะ
- เมื่อบินครบ 2 นาทีแล้วให้ผู้แข่งขันนำเครื่องบินมาลงจอดที่จุด start ที่เดิม
- เครื่องบินที่ใช้ในการแข่งขัน สามารถออกแบบและกำหนดขนาดได้เองโดยใช้วัสดุอะไรก็ได้
แต่ต้องติดล้อที่เครื่องบินเพื่อทำการ take off ขึ้นจากพื้น
- อุปกรณ์กำหนดให้ใช้มอเตอร์ขนาด 180 จำนวน 2 ตัว หรือ มอเตอร์ 1 ตัว ขนาดไม่เกิน 1400 KV
สปีดขนาดไม่เกิน 30 Amp
- ใช้วิทยุบังคับ 4 -8 CH แบบทั่วไป
- สัมภาระที่ใช้ในการแข่งขันผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมมาเอง กำหนดให้มีรูปลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม
ทำด้วยวัสดุใดก็ได้ ขนาดกว้าง x ยาว x สูง ไม่ต่ำกว่า 5 X 5 x 5 เซนติเมตร น้ำหนักไม่จำกัด
ขึ้นอยู่กับความสามารถในการบรรทุกของเครื่องบิน
- การปลดทิ้งสัมภาระผู้เข้าแข่งขันสามารถใช้วิทยุแบบ 2 ช่องสัญญาณปล่อยทิ้งสัมภาระ
หรือสามารถใช้ Servo ปลดทิ้งสัมภาระจากวิทยุในตัวเดียวกันของนักบินได้
- ในกรณีที่ผู้ช่วยนักบิน เป็นผู้กดปลดสัมภาระ ตำแหน่งที่ยืนจะต้องอยู่ข้างนักบินในขณะกดปลดสัมภาระ
(ไม่ให้ลงไปยืนในสนาม)
- ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมเครื่องบินมาเอง อนุญาตให้เตรียมมาได้มากกว่า 1 ลำ โดยต้องผ่านการตรวจสอบ
จากกรรมการก่อนทำการแข่งขัน
- แข่งขันพร้อมกันครั้งละ 2 ทีม
- เวลาในการแข่งขัน 2 นาที ถ้าเครื่องบินตกและยังไม่หมดเวลาสามารถนำเครื่องบิน บินต่อได้จนหมดเวลา
- ต้องปล่อยและยืนบินตามตำแหน่งที่กรรมการกำหนด และบินตามแบบที่กรรมการกำหนด
- เริ่มจากจุด start ผู้เข้าแข่งขัน take off เครื่องบินจากพื้น แล้วบินซิกแซกวนอ้อมหลัก 2 หลักที่กรรมการกำหนด
แล้วทิ้งสัมภาระลงในเป้าคะแนน
- กรณีทิ้งสัมภาระแล้วเครื่องบินตกอยู่ในกรอบเป้าคะแนน ถือว่าปฏิบัติภารกิจไม่สำเร็จไม่ได้คะแนน
- กรณีทิ้งสัมภาระไม่ลงเป้าคะแนน ให้วัดระยะจากจุดกึ่งกลางเป้าคะแนนไปยังจุดที่สัมภาระตกอยู่
โดยคิดจากระยะทางที่ใกล้จุดกึ่งกลางเป้ามากที่สุด
- ในกรณีที่เครื่องบินบินผ่านช่องที่กำหนดแล้วยังไม่สามารถกดปลดสัมภาระได้ นักบินต้องนำเครื่องบิน
ไปบินวนซิกแซกอ้อมหลักที่กรรมการกำหนดก่อนจึงจะทิ้งสัมภาระได้
- เครื่องบินตกเสียหายไม่สามารถทำการบินได้ต่อไป ให้ยุติการแข่งขัน
- ทีมที่ทิ้งสัมภาระลงแผ่นเป้าคะแนนได้คะแนนสูงสุด ใช้เวลาน้อยที่สุดเป็นทีมที่ชนะเลิศ
- การตัดสินกรณีคะแนนเท่ากัน ทีมที่ใช้เวลาน้อยที่สุดเป็นผู้ชนะ
- การตัดสินกรณีที่ไม่มีคะแนน ใช้วัดระยะ ทีมที่วัดระยะได้ใกล้ที่สุดเป็นผู้ชนะ
- เมื่อบินครบ 2 นาทีแล้วให้ผู้แข่งขันนำเครื่องบินมาลงจอดที่จุด start ที่เดิม
ประเภท“ศึกปีกหมุนประลองทักษะ” (Mini Quad copter)
กติกาการแข่งขัน - กำหนดให้ใช้ Mini Quad copter (อากาศยานปีกหมุนชนิด 4 ใบพัด) รุ่นใด ก็ได้ในการแข่งขัน
- Mini Quad copter ที่ใช้ในการแข่งขัน กำหนดให้ใช้มอเตอร์แปรงถ่านขนาดไม่เกิน 180w (DC 2 สาย)
- โครงสร้างของ Mini Quad copter (frame / body) กำหนดให้ต้องเปลี่ยนแปลงจากของเดิมโดยจะพ่นสีหรือตกแต่งลายใหม่
ออกแบบหรือสร้างขึ้นมาใหม่รูปแบบใดก็ได้ โดยจะต้องมีขนาดไม่น้อยกว่า 230 มิลลิเมตร (ระยะห่างระหว่างมอเตอร์ 2 ตัว
วัดในแนวทแยงไม่ต่ำกว่า 230 มิลลิเมตร)
- อนุญาตให้มี Mini Quad copter สำรองสำหรับการแข่งขัน
- ผู้เข้าแข่งขัน 1 ทีมจะต้องมี 3 คน นักบิน 1 คน ผู้ช่วยนักบิน 1 คน ผู้ควบคุมทีม 1 คน
- กำหนดเวลาปฏิบัติภารกิจ 2 นาที คะแนนการแข่งขันมี 100 คะแนน
- แข่งพร้อมกัน 2 ทีม ทีมที่ได้คะแนนมากกว่า และ ปฏิบัติภารกิจเสร็จก่อนใช้เวลาน้อยกว่าเป็นผู้ชนะ
- การแข่งขันรอบคัดเลือก จะแข่งขันคัดเลือกเหลือ 16 ทีม
- ทีมที่เหลือ 16 ทีม จะแข่งขันคัดเหลือ 8 ทีม โดยแข่งขันแบบครั้งเดียวแพ้คัดออก แล้วคัดเหลือ 4 ทีมสุดท้าย
เพื่อแข่งรอบชิงชนะเลิศ ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 และที่ 4
- ผู้เข้าแข่งขัน 1 ทีม มี 3 คน คือ นักบิน 1 คน ผู้ช่วยนักบิน 1 คนและผู้ควบคุมทีม 1 คน
- Mini Quad copter ที่ใช้ในการแข่งขัน กำหนดให้ใช้มอเตอร์แปรงถ่านขนาดไม่เกิน 180w (DC 2 สาย)
- โครงสร้างของ Mini Quad copter (frame / body) กำหนดให้ต้องเปลี่ยนแปลงจากของเดิมโดยจะพ่นสีหรือตกแต่งลายใหม่
ออกแบบหรือสร้างขึ้นมาใหม่รูปแบบใดก็ได้ โดยจะต้องมีขนาดไม่น้อยกว่า 230 มิลลิเมตร (ระยะห่างระหว่างมอเตอร์ 2 ตัว
วัดในแนวทแยงไม่ต่ำกว่า 230 มิลลิเมตร)
- อนุญาตให้มี Mini Quad copter สำรองสำหรับการแข่งขัน
- ผู้เข้าแข่งขัน 1 ทีมจะต้องมี 3 คน นักบิน 1 คน ผู้ช่วยนักบิน 1 คน ผู้ควบคุมทีม 1 คน
- กำหนดเวลาปฏิบัติภารกิจ 2 นาที คะแนนการแข่งขันมี 100 คะแนน
- แข่งพร้อมกัน 2 ทีม ทีมที่ได้คะแนนมากกว่า และ ปฏิบัติภารกิจเสร็จก่อนใช้เวลาน้อยกว่าเป็นผู้ชนะ
- การแข่งขันรอบคัดเลือก จะแข่งขันคัดเลือกเหลือ 16 ทีม
- ทีมที่เหลือ 16 ทีม จะแข่งขันคัดเหลือ 8 ทีม โดยแข่งขันแบบครั้งเดียวแพ้คัดออก แล้วคัดเหลือ 4 ทีมสุดท้าย
เพื่อแข่งรอบชิงชนะเลิศ ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 และที่ 4
- ผู้เข้าแข่งขัน 1 ทีม มี 3 คน คือ นักบิน 1 คน ผู้ช่วยนักบิน 1 คนและผู้ควบคุมทีม 1 คน
รูปแบบการแข่งขัน
- ผู้เข้าแข่งขันทั้ง 2 ทีมนำอากาศยานที่ผ่านการดัดแปลง/ตกแต่ง frame / body แล้วให้
กรรมการตรวจสอบและให้คะแนน โดยจะมีคะแนนการดัดแปลง/ตกแต่ง สูงสุด 10 คะแนน
- ผู้เข้าแข่งขันทั้ง 2 ทีม ยืนประจำที่จุด start (ขณะบินห้ามนักบินเดินตามอากาศยานแต่สามารถเดินขยับซ้าย-ขวา
ได้ในขอบเขตที่กรรมการกำหนด)
- เริ่มจากจุด start ผู้เข้าแข่งขันนำอากาศยานเข้าโจมตีลูกโป่ง จำนวน 2 ลูกโดยมีคะแนนลูกละ 5 คะแนน รวม 10 คะแนน
- จากนั้นบังคับอากาศยานบินผ่านช่องกังหัน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 เมตร สูงจากพื้นถึงขอบด้านล่างของกังหัน 1 เมตร (กังหันหมุน 5 รอบ/นาที) โดยด่านนี้จะมี 10 คะแนน
- จากนั้นบินลอดห่วงสี่เหลี่ยม ขนาด 1X1 เมตร สูง 1.5 เมตร และบินลอดห่วงสี่เหลี่ยมขนาด 1X1.5 เมตร สูง 1.5 เมตร ที่ตั้งเรียงกัน จำนวน 4 ห่วง
- จากนั้นนำอากาศยานไปเกี่ยวสัมภาระ (กล่องโฟมสี่เหลี่ยมขนาด 9X9X9 เซนติเมตร) ที่จุดรับสัมภาระ ด่านนี้มี 20 คะแนน
- จากนั้นบังคับอากาศยานที่บรรทุกสัมภาระอ้อมหอนาฬิกา แล้วนำสัมภาระไปวางที่จุดวางสัมภาระ ด่านนี้มี 20 คะแนน
- หลังจากนั้นบินลอดอุโมงค์แนวดิ่งขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตรสูง 1.5 เมตร โดยบินผ่านจากด้านบนลงล่าง
ด่านนี้มี 15 คะแนน
- จากนั้นบังคับอากาศยานเข้าโจมตีลูกโป่ง 1 ลูก มี 5 คะแนน
- แล้วนำอากาศยานลงจอดที่จุด finish ถือเป็นอันสิ้นสุดการแข่งขัน ด่านนี้มี 10 คะแนน รวมคะแนนทั้งสิ้น 100 คะแนน
- ในกรณีที่อากาศยานตกลงพื้น ผู้เข้าแข่งขันสามารถนำมาวางตรงจุดที่ตก หรือจุดที่กรรมการกำหนด และบินต่อได้
- ผู้เข้าแข่งขันต้องปฏิบัติภารกิจ ให้เสร็จทุกด่านตามลำดับ
- ผู้เข้าแข่งขันทั้ง 2 ทีมนำอากาศยานที่ผ่านการดัดแปลง/ตกแต่ง frame / body แล้วให้
กรรมการตรวจสอบและให้คะแนน โดยจะมีคะแนนการดัดแปลง/ตกแต่ง สูงสุด 10 คะแนน
- ผู้เข้าแข่งขันทั้ง 2 ทีม ยืนประจำที่จุด start (ขณะบินห้ามนักบินเดินตามอากาศยานแต่สามารถเดินขยับซ้าย-ขวา
ได้ในขอบเขตที่กรรมการกำหนด)
- เริ่มจากจุด start ผู้เข้าแข่งขันนำอากาศยานเข้าโจมตีลูกโป่ง จำนวน 2 ลูกโดยมีคะแนนลูกละ 5 คะแนน รวม 10 คะแนน
- จากนั้นบังคับอากาศยานบินผ่านช่องกังหัน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 เมตร สูงจากพื้นถึงขอบด้านล่างของกังหัน 1 เมตร (กังหันหมุน 5 รอบ/นาที) โดยด่านนี้จะมี 10 คะแนน
- จากนั้นบินลอดห่วงสี่เหลี่ยม ขนาด 1X1 เมตร สูง 1.5 เมตร และบินลอดห่วงสี่เหลี่ยมขนาด 1X1.5 เมตร สูง 1.5 เมตร ที่ตั้งเรียงกัน จำนวน 4 ห่วง
- จากนั้นนำอากาศยานไปเกี่ยวสัมภาระ (กล่องโฟมสี่เหลี่ยมขนาด 9X9X9 เซนติเมตร) ที่จุดรับสัมภาระ ด่านนี้มี 20 คะแนน
- จากนั้นบังคับอากาศยานที่บรรทุกสัมภาระอ้อมหอนาฬิกา แล้วนำสัมภาระไปวางที่จุดวางสัมภาระ ด่านนี้มี 20 คะแนน
- หลังจากนั้นบินลอดอุโมงค์แนวดิ่งขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตรสูง 1.5 เมตร โดยบินผ่านจากด้านบนลงล่าง
ด่านนี้มี 15 คะแนน
- จากนั้นบังคับอากาศยานเข้าโจมตีลูกโป่ง 1 ลูก มี 5 คะแนน
- แล้วนำอากาศยานลงจอดที่จุด finish ถือเป็นอันสิ้นสุดการแข่งขัน ด่านนี้มี 10 คะแนน รวมคะแนนทั้งสิ้น 100 คะแนน
- ในกรณีที่อากาศยานตกลงพื้น ผู้เข้าแข่งขันสามารถนำมาวางตรงจุดที่ตก หรือจุดที่กรรมการกำหนด และบินต่อได้
- ผู้เข้าแข่งขันต้องปฏิบัติภารกิจ ให้เสร็จทุกด่านตามลำดับ
ประเภท ปีกหมุนประลองปัญญา (Quad rotor) กติกาการแข่งขัน
- กำหนดให้ใช้ Quad rotor (อากาศยานปีกหมุนชนิด 4 ใบพัด) รุ่นใด ก็ได้ในการแข่งขัน โครงสร้างของอากาศยาน อุปกรณ์สำหรับหิ้วและปล่อยสัมภาระ และอุปกรณ์ติดตั้งกล้อง จะต้องออกแบบและสร้างขึ้นมาเอง
- กำหนดให้ผู้เข้าแข่งขันเตรียมสัมภาระมาเองโดยสัมภาระที่ใช้มีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยมทำด้วยวัสดุใดก็ได้ ขนาดกว้าง x ยาว x สูง ไม่ต่ำกว่า 3 x 3 x 3 นิ้ว
- กำหนดเวลาปฏิบัติ ภารกิจ 2.30 นาที จะต้องปฏิบัติภารกิจให้เสร็จแต่ละด่านตามลำดับ
- คะแนนการแข่งขันมี 100 คะแนน ถ้าปฏิบัติภารกิจสำเร็จทุกด่าน
- แข่งครั้งละ 1 ทีม ทีมที่ได้คะแนนมากกว่า และ ปฏิบัติภารเสร็จก่อนเป็นผู้ชนะ
- ถ้าภายในเวลา 2.30 นาที ผู้เข้าแข่งขันไม่สามารถปฏิบัติภารกิจสำเร็จ ทีมที่ทำคะแนนได้มากกว่าเป็นผู้ชนะ ถ้าทำคะแนนได้เท่ากัน จะมีการแข่งใหม่อีกครั้งเพื่อหาผู้ชนะ
- Captain ทำหน้าที่บังคับเครื่องบิน และทิ้งสัมภาระลงเป้าหมาย
- Senior Co-Pilot นักบินผู้ช่วยที่ 1 ทำหน้าที่บอกพิกัดการบิน
- Co-Pilot นักบินผู้ช่วยที่ 2 ทำหน้าที่คำนวณพิกัดและแขวนป้ายผลการคำนวณ
- หัวหน้าคณะกรรมการ การแข่งขันจะเป็นผู้ชี้ขาด ผลการแข่งขัน
- กำหนดให้ผู้เข้าแข่งขัน 1 คนลงสมัครได้ 1 ทีมเท่านั้น โดย 1 ทีมประกอบด้วย 3 คน
รูปแบบการแข่งขัน
- ผู้เข้าแข่งขันยืนอยู่ในจุดที่กรรมการกำหนด บังคับอากาศยานเริ่มจากจากจุด start
- ด่านที่หนึ่ง ให้ผู้เข้าแข่งขันบังคับอากาศยานบินอ้อมหลัก 3 หลักด่านนี้มี 15 คะแนน
- ด่านที่สองจะมี กล่องอยู่ 3 ใบ ภายในจะบรรจุหมายเลข ไว้ กล่องละ 1 หมายเลขให้ผู้เข้าแข่งขันบินสำรวจ
โดยดูภาพผ่านทางจอมอนิเตอร์ว่าภายในกล่องทั้ง 3 ใบบรรจุหมายเลขอะไรไว้บ้าง แล้วบวก คูณ หรือหารหมายเลขทั้ง 3 กล่องตามโจทย์ที่กรรมการกำหนด ทั้งสามกล่องได้เท่าไร นำผลคะแนนที่ได้ไปแขวนไว้ที่บอร์ด ด่านนี้มี 20 คะแนน - ด่านที่สาม จะมี กล่องวางอยู่ 3 ใบ และมีหมายเลขอยู่ในกล่อง เมื่อผู้เข้าแข่งขันบินสำรวจผ่านด่านที่ 2 มาแล้ว
ให้ผู้เข้าแข่งขัน บินไปทิ้งสัมภาระที่ลำเลียงมาลงในกล่องที่มีหมายเลขที่ตรงกับคะแนนที่รวมไว้แล้ว ด่านนี้มี 20 คะแนน - จากนั้นให้ผู้เข้าแข่งขันนำเครื่องลงจอดที่จุดพัก ด่านนี้ มี 10 คะแนน
- ให้ผู้เข้าแข่งขันโจมตีลูกโป่งให้แตกทั้ง 3 ลูก มี 15 คะแนน
- จากนั้นนำเครื่องลงจอดที่จุด Finish เป็นอันเสร็จสิ้น ภารกิจ ด่านนี้ มี 20 คะแนน
***กติกาการแข่งขัน ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงทางคณะกรรมการจะแจ้งให้ทราบในวันแข่งขัน***
ดาวน์โหลดกติกาการแข่งขัน "ศึกปีกหมุนประลองทักษะ" Mini Quadrotor
ดาวน์โหลดกติกาการแข่งขัน "ศึกปีกหมุนประลองปัญญา" Quadrotor
ดาวน์โหลดหนังสือเชิญแข่งขัน
ดาวน์โหลดกติกาการแข่งขัน "ศึกปีกหมุนประลองปัญญา" Quadrotor
ดาวน์โหลดหนังสือเชิญแข่งขัน